ไลฟ์สไตล์

การแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ของ"กลุ่มนักเรียนเลว" สร้างสรรค์ไหมหรือไม่

การแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ของ"กลุ่มนักเรียนเลว" สร้างสรรค์ไหมหรือไม่

07 ก.ย. 2564

จากปรากฏการณ์การห้อยคอลงมาของตัวแทนนักเรียนหญิงเพื่อแสดงเจตจำนงค์ของกลุ่มนักเรียนเลวเป็นวิธีที่สมควรแล้วหรือไม่

เมื่อวานนี้วันจันทร์ที่ 6 ส.ค. 64 นอกจากที่ผู้ชุมนุมกลุ่มทะลุแก๊ซจะออกมาประท้วงขับไล่นายกรัฐมนตรีประยุทธ์ จันทร์โอชา แต่ขณะเดียวกันกลุ่ม "นักเรียนเลว" ก็ได้ออกมา strike พร้อม ๆ กันเพื่อระดมพลการหยุดเรียนออนไลน์ในช่วงวันที่ 6-10 ก.ย. 64
 

ซึ่งการออกมาแสดงเจตจำนงค์ของกลุ่มนักเรียนเลวในครั้งนี้ได้ใช้วิธีที่ต่างออกไป ซึ่งจะเป็นการจำลองการห้อยคอลงมาของนักเรียนหญิงคนหนึ่ง       เสียงหนึ่งบอกว่าการห้อยคอลงมาเช่นนี้เป็นวิธีการที่อันตรายเกินไปเพราะหากเกิดอะไรผิดพลาดหรือหากเชือกอาจขาดจะทำให้นักเรียนหญิงได้รับบาดเจ็บ ในขณะที่อีกเสียงก็บอกว่าเป็นวิธีการที่สร้างสรรค์ที่จะสร้างแรง impact และความสนใจได้ซึ่งจะสามารถทำให้ข้อเรียกร้องมีโอกาสเกิดขึ้นได้จริง 


การแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ของ\"กลุ่มนักเรียนเลว\" สร้างสรรค์ไหมหรือไม่


ซึ่งสัญลักษณ์ที่กลุ่มนักเรียนเลวได้แสดงออกเป็นวิธีที่ใช้จะเป็นวิธีเดียวกับเวลาที่นักแสดงถ่ายละครหรือภาพยนตร์ โดยการติดเชือกไว้ที่หลังของนักเรียนหญิง ส่วนเชือกที่คล้องคออยู่จะคล้องเชิงสัญลักษณ์เท่านั้น
 

ส่วนจุดประสงค์ของการแสดงออกเช่นนี้เพื่อข้อเรียกร้อง 5 ประการดังภาพต่อไปนี้

การแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ของ\"กลุ่มนักเรียนเลว\" สร้างสรรค์ไหมหรือไม่



ที่มาข้อมูลและรูปภาพ:
https://badstudent.co