ไลฟ์สไตล์

พบ 6 กาแล็กซี่ที่ตายไปแล้วจากเอกภพด้วย "กล้องโทรทรรศน์ฮับเบิล"

พบ 6 กาแล็กซี่ที่ตายไปแล้วจากเอกภพด้วย "กล้องโทรทรรศน์ฮับเบิล"

17 ต.ค. 2564

ก๊าซไฮโดรเจน เป็นก๊าซมีน้ำหนักเบา โมเลกุลต่ำและให้พลังงานสูงเมื่อเผาไหม้ร่วมกับออกซิเจนเหลว ทำให้ให้เชื้อเพลิงเหลวที่มีความหนาแน่นต่ำ เครื่องยนต์หลักของกระสวยอวกาศใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนเหลว เพื่อให้สามารถลอยอยู่ได้ในอวกาศ

ภายในกาแล็กซี่ หรือ ดาราจักร หลายดาราจักรที่ประกอบกันจนเป็น เอกภพ มีส่วนประกอบสำคัญคือ "ก๊าซไฮโดรเจน" ซึ่งก๊าซไฮโดรเจนเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิด 'ดาวดวงใหม่' และยังทำให้ดวงดาวแต่ละดวงรวมตัวอยู่ภายในดาราจักรเดียวกัน แต่เมื่อขอบเขตของจักรวาลนี้ใหญ่เกินที่มนุษย์จะรู้ทั้งหมดเกี่ยวกับมันได้ ทำให้นักดาราศาสตร์บางส่วนเช่ือว่า แต่ละกาแล็กซี่จะมีก๊าซไฮโดรเจนที่มากพอสำหรับดวงดาวอื่นๆ ที่มนุษย์ยังไม่ค้นพบ หรือยังไม่เกิดขึ้นมา แต่จากการศึกษาล่าสุด นักดาราศาสตร์ค้นพบว่า ก๊าซไฮโดรเจนมีวัน หมดไปได้ และ ได้พบกาแล็กซี่ที่ตายไปแล้วโดยไม่หลงเหลือก๊าซไฮโดรเจนทั้งหมด 6 กาแล็กซี่

 

พบ 6 กาแล็กซี่ที่ตายไปแล้วจากเอกภพด้วย \"กล้องโทรทรรศน์ฮับเบิล\"

นักดาราศาสตร์ค้นพบจักรวาลที่ตายไปทั้ง 6 จักรวาลนี้ถูกพบโดยการใช้กล้องโทรทรรศน์ฮับเบิล (Hubble Telescope) และกล้องโทรทรรศน์เอแอลเอ็มเอ (ALMA) ซึ่งเป็นกล้องที่มีเลนส์ความโน้มถ่วงสูง ซึ่งช่วยกำหนดตำแหน่งของกาแล็กซี่นั้นๆ 
 

กล้องโทรทรรศน์ฮับเบิล

กล้องโทรทรรศน์เอแอลเอ็มเอ


การค้นพบการสูญหายของ "ก๊าซไฮโดรเจน" และทั้ง 6 จักรวาลดังกล่าวนี้เป็นข้อพิสูจน์ถึงพลังความสามารถในการทำงานร่วมกันระหว่างกล้องฮับเบิลและกล้องเอแอลเอ็มเอ แต่นักวิทยาศาสตร์ไม่ทราบว่าเหตุที่แน่ชัดว่าเหตุใดกาแลคซี่จึงหมดอายุขัยอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะไรฃลฃ 'ก๊าซไฮโดรเจน' ถูกขับถูกออก หรือถูกใช้ไปจนหมดอย่างรวดเร็ว

ที่มาข้อมูลและรูปภาพ:
https://www.engadget.com/hubble-dead-early-galaxies-

https://public.nrao.edu/blogs