ข่าว

ทางรอด 'ธุรกิจSME'  ต้องเดินสาย BCG ชี้ 2 อุปสรรคท้าทายที่ต้องเผชิญ

ทางรอด 'ธุรกิจSME'  ต้องเดินสาย BCG ชี้ 2 อุปสรรคท้าทายที่ต้องเผชิญ

15 ก.พ. 2566

ทางรอดอนาคต 'ธุรกิจSME'  แนะเดินสาย BCG มากขึ้น รัฐส่งเสริมให้ความรู้หลัง SME เข้าใจแค่ 10% ชี้ 2 อุปสรรคท้าทายการทำธุรกิจในปี 2566

ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา "ธุรกิจSME" เป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคระบาดและภาวะเศรฐกิจถดถอย โดย เนชั่นกรุ๊ป ได้เล็งเห็นความสำคัญในโดยเนชั่นกรุ๊ปได้เล็งเห็นความสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพให้ธุรกิจเอสเอ็มอีสามารถเดินหน้าต่อไปได้ จึงได้จัดงานเสวนา งานเสวนาอนาคต SME ไทยจะไปทางไหน เพื่อร่วมกันหาทางออกและมาตรการส่งเสริม "ธุรกิจSME"  ไทย ให้เติบโตอย่างยั่งยืน

 

โดยในกิจกรรมเสวนา มีทั้งหน่วยงานภาครัฐ ธนาคารของรัฐ รวมไปถึงสมาพันธ์ธุรกิจSME ได้ร่วมกันหาทางออกและแนวทางการสนับสนุน "ธุรกิจSME"  อย่างเป็นรูปธรรม


นายมานิต จตุจริยพงศ์ ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมธุรกิจ SME สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) กล่าวถึงแนวทางการสนับสนุน หลังจากที่ผ่านพ้นวิกฤต โควิด-19 มา แนวโน้มและโอกาสการเติบโตของ SME ในประเทศไทยมีค่อนข้างมาก ดังนั้นสิ่งที่สสว. จะช่วยคือการสนับสนุน "ธุรกิจSME" ให้ฟื้นตัวได้อย่างยั่งยืน โดยเฉพาะการเตรียมความพร้อมธุรกิจให้สอดรับกับการทำธุรกิจในรูปแบบ โมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (BCG)  เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้ SME สามารถส่งสินค้าออกไปขายนี่สอนยุโรปและอเมริกาได้ เพราะตลาดส่งออกในต่างประเทศค่อนข้างให้ความสำคัญกับเพราะตลาดส่งออกในต่างประเทศค่อนข้างให้ความสำคัญกับการทำธุรกิจ โดยใช้หลัก หลักเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)  การทำ Carbon credit เพื่อลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งจากนี้ไปการทำซึ่งจากนี้ไปการทำ ธุรกิจSME จะต้องให้ความสำคัญ การทำธุรกิจแบบ BCG มากยิ่งขึ้น

อนาคตSMEไทย

 

 

เนื่องจากปัจจุบัน "ธุรกิจSME"   ยังไม่มีความพร้อมมากพอ ดังนั้นศศบ่จึงได้เตรียมนักพัฒนามีสี่สีจำนวนดังนั้นศศบ่จึง ได้เตรียมนักพัฒนา BCG จำนวน 500 รายเพื่อเป็นการให้ความรู้และแก้ไขจุดอ่อนในการทำ "ธุรกิจSME"    รวมไปถึงการหาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำทุนดอกเบี้ยต่ำ เพื่อเป็นช่องทางในการเสริมสภาพคล่องให้กับ SME 

 

ด้านนายแสงชัย ธีระกุลวานิช ประธานสมาพันธ์ SME ไทย กล่าวว่า สิ่งที่ทำสิ่งที่ทำให้ "ธุรกิจSME"  ในประเทศไทยยังไม่สามารถเติบโตได้อย่างก้าวกระโดดเหมือนในต่างประเทศ พบว่า ยังมีข้อจำกัดยังมีหลายด้านไม่ว่าจะเป็น  นโนยายการรสนับสนุน ส่งเสริมการเข้าถึงแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำ ส่งเสริมให้ SME  สามารถเพิ่มมูลค่าของผลผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ  เพราะแอดเอ็มเอถือว่าเป็นธุรกิจฐานรากที่สำคัญ SME ถือว่าเป็นเศรษฐกิจฐานรากที่สำคัญ ถือว่าเป็นเศรษฐกิจฐานรากที่สำคัญของประเทศไทย  ปัจจุบันประเทศไทยมีธุรกิจเอสเอ็มอีประมาณ 3.2 ล้านราย  และมีเอสเอ็มอีที่อยู่ในรูปแบบมาตรา 40 อีก 11 ล้านราย ก่อให้เกิดการจ้างงานในระบบมากถึง 12 ล้านคน  

 

อนาคตSMEไทย

 

แม้ว่า "ธุรกิจSME" จะเป็นหลังการจ้างงานขนาดใหญ่ในประเทศแต่พบว่าปัจจุบัน "ธุรกิจSME"  ยังมีปัญหา ที่ไม่สามารถทำให้ที่ไม่สามารถทำให้เติบโตได้อย่างก้าวกระโดด ไม่ว่าจะเป็นปัญหาต้นทุนค่าของชีพที่สูงขึ้น การเข้าถึงเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำการเข้าถึงเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำที่ทำได้ยาก ขนาดนี้เอสเอ็มอีจะต้องประเชิญกับการกู้เงินที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงถึง 10% ในขณะที่ผู้ประกอบการรายใหญ่ เข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ในอัตราดอกเบี้ย 4% เท่านั้น 

 

นอกจากนี้ยังพบว่าการประกอบธุรกิจเอสเอ็มอีในประเทศไทยยังขาดความรู้เรื่อง BCG โดยพบว่า ธุรกิจSME  รู้จัก BCG เพียง 10% เท่านั้น ส่วนใหญ่จะอยู่ในการทำส่วนใหญ่จะอยู่ในการทำธุรกิจรายย่อมและลายกลาง ส่วนผู้ประกอบการธุรกิจรายย่อยแทบจะไม่รู้จักการทำส่วนผู้ประกอบการธุรกิจรายย่อย แทบจะไม่รู้จักการทำธุรกิจแบบ BCG เลย ดังนั้นสิ่งที่รัฐบาลจะต้อง ต่อจากนี้คือการให้ความรู้และสร้างความเข้าใจในเรื่องของ BCG มากขึ้น เพราะในอนาคตจะช่วยเพิ่มมูลค่า ให้กับธุรกิจได้อย่างมหาศาล  อีกทั้งเทรนด์การทำธุรกิจต่อจากนี้จะเน้นที่การทำธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น 

 

ไม่ใช่แค่นโยบายของรัฐเท่านั้นที่ส่งผลต่อการเติบโตของภาค ธุรกิจSME  แต่ในปี 2566 ยังมีความท้าทายที่การทำธุรกิจจะต้องประเชิญนั้น 2 ประเด็น คือ 

 

1.ต้นทุนพลังงานค่าขนส่งที่จะเพิ่มสูงมากขึ้น โดยเราจะเห็นได้จากการแข่งขันลดราคาของธุรกิจขนส่ง ที่เน้นยอดขายลดราคาเยอะแต่กำไรลดลง ดังนั้นผู้ประกอบการจะต้องมีการบริหารต้นทุนเรื่องการลดราคาสินค้าให้ได้

 

2. อัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น จากการประกาศอัตราดอกเบี้ยจากธนาคารกลาง ดังนั้นผู้ประกอบการจะต้องคิดวิธีการเพิ่มยอดขายและลดต้นทุนให้ต่ำลง

 

 

 

ด้านนายโมกุล โปรษยะพิสิษฐ์ รองกรรมการผู้จัดการ ธนาคารรัฐวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SMED BANK) กล่าวว่า สำหรับความท้าทาย ในการทำ "ธุรกิจSME"   มีความท้าทายดังนี้ 

 

ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ ที่จะส่งผลกระทบต่อ เศรษฐกิจของประเทศไทย ความไม่แน่นอนทางการเมืองที่จะต้องมีการจับตาดูว่าใครจะเป็นผู้กำหนดนโยบายในการส่งเสริมการทำธุรกิจ  ปัญหาเงินเฟ้อต้นทุนแรงงานต้นทุนพลังงานค่าใช้จ่าย ที่จะเพิ่มส่งบ้างขึ้น สังคมสูงวัยที่จะทำให้สังคมสูงวัยที่จะทำให้ธุรกิจหลายธุรกิจต้องปรับตัว  รวมไปถึงพฤติกรรมผู้บริโภค ที่จะต้องปรับตัวรองความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น รวมไปถึงโรคระบาดอื่นๆที่เราไม่สามารถคาดการณ์ได้ 

 

อนาคตSMEไทย

 

ดังนั้นสิ่งที่จะทำให้ "ธุรกิจSME" อยู่รอดและเดินต่อไปข้างหน้าได้ ผู้ประกอบการจะต้องปรับเปลี่ยนการทำผู้ประกอบการจะต้องปรับเปลี่ยนการทำธุรกิจ ให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงของโลกและเศรษฐกิจ รองรับความต้องการของผู้บริโภค รวมไปถึงการหันมาทำรวมไปถึงการหันมาทำธุรกิจในรูปแบบ BCG มีการดูแลสังคมและดูแลสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงการสร้าง ขั้นตอนไหนคันทำธุรกิจเพื่อ ขั้นตอน ไหนคันทำธุรกิจเพื่อเพิ่มความคล่องตัวสามารถปรับเปลี่ยนได้ตลอดเวลา สร้างความสมดุลทางด้านการเงิน มีแหล่งเงินทุนที่ชัดเจนรวมถึงการมองอนาคตการเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์เพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ธุรกิจ